เว็บไซต์นี้อัพเดทข้อมูลล่าสุดเมื่อ กรกฎาคม 2564 สามารถดูเวอร์ชั่นอัพเดทได้ที่ https://theyworkforus.wevis.info

They Work For Us

รายการญัตติ
  • ผู้เสนอ

    • พิธา ลิ้มเจริญรัตน์
    • พีรเดช คำสมุทร
    • เอกภพ เพียรพิเศษ
    • นิติพล ผิวเหมาะ
    • คำพอง เทพาคำ
  • ผู้รับรอง (29)

    • สุพิศาล ภักดีนฤนาถ
    • ณัฐวุฒิ บัวประทุม
    • เยาวลักษณ์ วงษ์ประภารัตน์
    • ญาณธิชา บัวเผื่อน
    • ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์
    • จารุวรรณ ศรัณย์เกตุ
    • ชำนาญ จันทร์เรือง
    • จุลพันธ์ โนนศรีชัย
    • ปกรณ์วุฒิ อุดมพิพัฒน์สกุล
    • จิรัฏฐ์ ทองสุวรรณ์
    • กฤติเดช สันติวชิระกุล
    • เอกการ ซื่อทรงธรรม
    • ณัฐพล สืบศักดิ์วงศ์
    • วรรณวิภา ไม้สน
    • อภิชาติ ศิริสุนทร
    • จรัส คุ้มไข่น้ำ
    • ทวีศักดิ์ ทักษิณ
    • สำลี รักสุทธี
    • องค์การ ชัยบุตร
    • พิจารณ์ เชาวพัฒนวงศ์
    • ณัฐชา บุญไชยอินสวัสดิ์
    • กุลธิดา รุ่งเรืองเกียรติ
    • สุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ
    • พงศกร รอดชมภู
    • โชติพิพัฒน์ เตชะโสภณมณี
    • ณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ
    • ทศพร ทองศิริ
    • เท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร
    • สุทธวรรณ สุบรรณ ณ อยุธยา
  • พิธา ลิ้มเจริญรัตน์
  • ญัตติด่วน เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อเร่งรัดการแก้ปัญหาการให้ประทานบัตรเหมืองแร่ และการทำเหมืองแร่ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน
    เลขทะเบียนรับ
    35/2562
    วันที่เสนอ
    04/07/2019
    วันที่ประชุม
    สภาผู้แทนพิจารณา


    สาระและวัตถุประสงค์

    เนื่องจากการทำเหมืองแร่ในประเทศไทยทำให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน เช่น ผลกระทบต่อระบบนิเวศ ผลกระทบด้านเสียงและฝุ่นจากการใช้วัตถุระเบิด ผลกระทบต่อแหล่งน้ำใต้ดินที่ถูกปนเปื้อนจากสารอันตราย และผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียง ซึ่งผลกระทบเหล่านี้เกิดจากกระบวนการออกประทานบัตรจากกระบวนการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (EIA) ที่มีปัญหา การทำประชาพิจารณ์ที่ขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน การดำเนินการที่ขาดความรับผิดชอบ ขาดการตรวจสอบด้วยข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเห็นได้จากการขอสัมปทานเหมืองแร่ในตำบลในวงเหนือ และตำบลในวงใต้ จังหวัดระนอง ซึ่งเป็นพื้นที่แหล่งหินที่อยู่ในสถานะเตรียมเสนอยกเลิกเพราะเป็นป่าชุมชนและเป็นโบราณสถาน รวมถึงกระทบต่อการเกษตรของชุมชน ซึ่งมีบริษัทเอกชนกำลังเข้ามาดำเนินการยื่นขอสัมปทาน เป็นต้น จึงเห็นควรให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาเร่งรัดการแก้ปัญหาการให้ประทานบัตรเหมืองแร่ และการทำเหมืองแร่ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน

    ผลการลงมติ

    ยังไม่ได้ลงมติ