เว็บไซต์นี้อัพเดทข้อมูลล่าสุดเมื่อ กรกฎาคม 2564 สามารถดูเวอร์ชั่นอัพเดทได้ที่ https://theyworkforus.wevis.info

They Work For Us

รายการญัตติ
  • ผู้เสนอ

    • ปิยบุตร แสงกนกกุล
    • รังสิมันต์ โรม
    • เอกภพ เพียรพิเศษ
    • พงศกร รอดชมภู
    • คารม พลพรกลาง
    • ธีรัจชัย พันธุมาศ
    • เกษมสันต์ มีทิพย์
  • ผู้รับรอง (38)

    • วรรณวรี ตะล่อมสิน
    • พรรณิการ์ วานิช
    • พิธา ลิ้มเจริญรัตน์
    • เอกการ ซื่อทรงธรรม
    • ฐนภัทร กิตติวงศา
    • ธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์
    • กุลธิดา รุ่งเรืองเกียรติ
    • ปดิพัทธ์ สันติภาดา
    • ปริญญา ช่วยเกตุ คีรีรัตน์
    • ศิริกัญญา ตันสกุล
    • องค์การ ชัยบุตร
    • ณัฐชา บุญไชยอินสวัสดิ์
    • จรัส คุ้มไข่น้ำ
    • ศักดินัย นุ่มหนู
    • สุพิศาล ภักดีนฤนาถ
    • จุลพันธ์ โนนศรีชัย
    • คำพอง เทพาคำ
    • ทองแดง เบ็ญจะปัก
    • เท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร
    • ไกลก้อง ไวทยการ
    • ญาณธิชา บัวเผื่อน
    • พีรเดช คำสมุทร
    • กัญจน์พงศ์ จงสุทธนามณี
    • สมชาย ฝั่งชลจิตร
    • มณฑล โพธิ์คาย
    • ประเสริฐพงษ์ ศรนุวัตร์
    • ปกรณ์วุฒิ อุดมพิพัฒน์สกุล
    • อภิชาติ ศิริสุนทร
    • สุรวาท ทองบุ
    • ทศพร ทองศิริ
    • สมเกียรติ ไชยวิสุทธิกุล
    • สมเกียรติ ถนอมสินธุ์
    • ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์
    • อมรัตน์ โชคปมิตต์กุล
    • ณัฐพล สืบศักดิ์วงศ์
    • นิรามาน สุไลมาน
    • จารุวรรณ ศรัณย์เกตุ
    • เจนวิทย์ ไกรสินธุ์
  • ปิยบุตร แสงกนกกุล
  • ญัตติด่วน เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อศึกษาแนวทางป้องกันไม่ให้เกิดการรัฐประหารขึ้นอีกในอนาคต
    เลขทะเบียนรับ
    9/2562
    วันที่เสนอ
    03/07/2019
    วันที่ประชุม
    20/02/2563
    ไม่ตั้ง กมธ. วิสามัญ


    สาระและวัตถุประสงค์

    ตามที่ในปัจจุบันรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ใช้บังคับแล้ว ได้มีการดำเนินกระบวนการตามที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวเพื่อออกจากระบอบรัฐประหารของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ กลับเข้าสู่ระบอบรัฐสภาอีกครั้ง ได้แก่ การจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร การลงมติแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี รวมถึงการตั้งคณะรัฐมนตรีที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อย่างไรก็ตาม ระบอบรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันยังคงมีความเปราะบาง เพราะรัฐธรรมนูญไม่ได้มีมาตรการใด ๆ ในการป้องกันมิให้เกิดการรัฐประหารขึ้นอีกในอนาคต โดยเฉพาะมาตรการจำกัดอำนาจของกองทัพซึ่งเป็นองค์กรที่สำคัญที่สุดในการลงมือทำรัฐประหาร ระบอบรัฐสภาที่ดำรงอยู่นี้จึงอาจถูกล้มล้างลงได้ทุกเมื่อหากมีการใช้อำนาจไปในทางที่ขัดหรือแย้งกับความต้องการของกองทัพ

    ผลการลงมติ

    ไม่แต่งตั้งคณะกรรมาธิการ

    บันทึกคะแนนเสียง

    เห็นด้วย 215
    ไม่เห็นด้วย 242
    ไม่ออกเสียง 2
    ไม่ลงคะแนน 38